คำอธิบายรายวิชา “การจัดการภาวะฉุกเฉินในผู้สูงอายุ” แนวคิดการจัดการภาวะฉุกเฉินในผู้สูงอายุ วิธีการจัดการภาวะฉุกเฉินในผู้สูงอายุที่พบบ่อย ได้แก่ วิธีการประเมินภาวะฉุกเฉินในผู้สูงอายุ ภาวะฉุกเฉินจากระบบหัวใจและหลอดเลือด ภาวะฉุกเฉินจากระบบการหายใจ ภาวะฉุกเฉินจากระบบประสาท ภาวะฉุกเฉินจากระบบทางเดินอาหาร ภาวะฉุกเฉินจากระบบต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิซึม ภาวะฉุกเฉินจากระบบทางเดินปัสสาวะ ภาวะฉุกเฉินจากการติดเชื้อ รวมทั้งวิธีการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในผู้สูงอายุ จำนวนชั่วโมงเรียนรู้ จำนวนชั่วโมงเรียนรู้ทั้งหมด 10 ชั่วโมงเรียนรู้ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ บอกแนวคิดการจัดการภาวะฉุกเฉินในผู้สูงอายุได้ อธิบายวิธีการจัดการภาวะฉุกเฉินในผู้สูงอายุที่พบบ่อยได้ อธิบายวิธีการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในผู้สูงอายุได้ คุณสมบัติผู้เรียน นักเรียนและนักศึกษา ทั้งในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และผู้ประกอบการสถานดูแลผู้สูงอายุ ประชาชนทุกวัยที่สนใจทั่วไป เกณฑ์การวัดผล แบบทดสอบก่อนเรียน 0% แบบทดสอบระหว่างเรียน 60 % แบบทดสอบหลังเรียน (Final Exam) 40% ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้ ทีมผู้รับผิดชอบรายวิชา MOOC ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.บุญทิพย์ สิริธรังศรี ผู้อำนวยการแผนงานวิจัย Email: [email protected], [email protected] รองศาสตราจารย์ ดร.กมลรัฐ อินทรทัศน์ หัวหน้าโครงการพัฒนารายวิชา สาขานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Email: [email protected] รองศาตราจารย์ พันตำรวจโท หญิง ดร. สุขอรุณ วงษ์ทิม (ผู้รับผิดชอบและวิทยากรหลัก) สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Email: [email protected] ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กุญชร เจือตี๋ สำนักทะเบียนและวัดผล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Email: [email protected] อาจารย์ ดร.ชุติวัฒน์ สุวัตถิพงศ์ สำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Email: [email protected], [email protected] Creative commons สัญญาอนุญาตสิทธิ์ “สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Thai MOOC (thaimooc.org) และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BY NC SA”
การจัดการภาวะฉุกเฉินในผู้สูงอายุ | Emergency Management in Elderly People
Sukhothai Thammathirat Open University via ThaiMOOC
-
58
-
- Write review