๑.บทบาทและฐานะของหลักสูตร
หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรแกนหลักสำหรับสาขาวิชารถยนต์ระดับอาชีวศึกษา เปิดการสอนเมื่อเทอมที่สี่ ทั้งหมดมี 96 ชั่วโมงการเรียน โดยมี 48 ชั่วโมงเป็นการเรียนเชิงทฤษฎีและ 48 ชั่วโมงเป็นการเรียนเชิงปฏิบัติ หลักสูตรที่ต้องเรียนก่อนคือ การตรวจสอบและซ่อมแซมเครื่องยนต์ของรถยนต์ หลักการและเทคโนโลยีควบคุมอิเล็กทรอนิกส์รถยนต์และการประยุกต์ใช้ ส่วนหลักสูตรที่ต้องเรียนต่อคือขับมอเตอร์และเทคโนโลยีควบคุม เทคโนโลยีการควบคุมอิเล็กทรอนิกส์รถยนต์พลังงานใหม่เป็นต้น
หลักสูตรนี้เชื่อมโยงไปกับเทคโนโลยีการให้ความสบายด้านเครื่องปรับอากาศและอีเล็กทรอนิกส์รถยนต์ซึ่งเป็นเนื้อหาทดสอบของใบรับรองทักษะระดับมืออาชีพการซ่อมแซมและการประยุกต์ใช้รถยนต์ (รวมรถยนต์พลังงานใหม่)1+X หลักสูตรนี้มีทั้งหมดเจ็ดหัวข้อ ได้แก่ความรู้ขั้นพื้นฐานทางไฟฟ้ารถยนต์ การตรวจซ่อมระบบแหล่งจายไฟ ปัญหาของระบบสตาร์ทเตอร์รถยนต์และการตรวจซ่อม โครงสร้างระบบจุดระเบิดรถยนต์และการตรวจซ่อม การตรวจซ่อมระบบระบบไฟส่องสว่างและสัญญาณรถยนต์ ปัญหาระบบแดชบอร์ดและการแจ้งเตือนรถยนต์และการตรวจซ่อม และปัญหาอุปกรณ์ไฟฟ้าเสริมรถยนต์าและการตรวจซ่อม
หลังเรียนจบหลักสูตรนี้ นักเรียนจะได้เรียนรู้ความรู้ทางทฤษฎีเกี่นวกับเครื่องยนต์รถยนต์และระบบควบคุอิเล็กทรอนิกส์รถยนต์ สามารถนำอุปกรณ์ตรวจสอบและวินิชัยที่ทันสมัยมาวิเคราะห์ ตรวจสอบ รวมถึงทดสอบและซ่อมแซมชิ้นส่วนระบบเครื่องใช้ไฟฟ้ารถยนต์ ตรวจจนฝึกฝนทักษะที่ใช้ในทางสังคมและทักษะแก้ไขปัญหาของนักเรียน
๒.เป้าหมายการเรียน
(๑)เป้าหม้ายด้านความสามารถ
สามารถอธิบายคำศัพท์เฉพาะที่ใช้ในหลักสูตรและอุสาหกรรมรถยนต์
สามารถใช้มัลติมิเตอร์รถยนต์ เครื่องทดรหัสของรถยนต์ได้อย่างถูกต้อง
สามารถปฏิบัติงานตรวจซ่อมอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้ารถยนต์
สามารถอ่านและเข้าใจภาพวงจรไฟฟ้ารถยนต์และตรวจสอบวงจรไฟฟ้ารวมถึงจุดเชื่อมต่างๆ ของรถยนต์
สามารถแก้ไขปัญหาที่พบบ่อยในวงจรไฟฟ้าและชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า
สามารถเสนอความคิดเห็นที่สมเหตุสมผลเกี่ยวกับการตรวจสอบและวินิชัยปัญหาและการชํารุดของเครื่องใช้ไฟฟ้ารถยนต์
สามารถทำงานตรวจซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้ารถยนต์ได้สำเร็จ รวมถึงได้ข้อมูลที่ทรงค่า
(๒)เป้าหมายด้านความรู้
เข้าใจหลักการทำงานขั้นพื้นฐานและโครงสร้างที่พบบ่อยของอุปกรณ์ไฟฟ้ารถยนต์
เข้าใจวิธีใช้ การบำรุงรักษาและการวินเคราะห์ปัญหาของอุปกรณ์ไฟฟ้ารถยนต์
เข้าใจวิธีและแนวทางวิเคราะห์ปัญหาทางระบบควบคุมอีเล็กทีอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้ารถยนต์
เข้าใจวิธีตรวจสอบและแก้ไขปัญหาที่พบบ่อยของอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้ารถยนต์
รับรู้เทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ใหม่ของอุปกรณ์ไฟฟ้ารถยนต์
(๓)เป้าหมายด้านคุณภาพ
มีความรู้สึกเป็นเกียรติแก่ส่วนรวมและการทำงานเป็นทีม
สามารถสื่อสารกับเพื่อนร่วมงาน เจ้านายและลูกค้าได้ดี
มีจิตสำนึกด้านความปลอดภัยและความคิดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มีจรรยาบรรณวิชาชีพ รักงาน ซื่อสัตย์ต่องาน
มีจิตใจเคารพการงานเรียนรู้อยู่ทุกวันและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมีคุณภาพการทำงานที่ซื่อสัตย์เชื่อถือได้ และไม่กลัวความยากลำบาก
๓.เนื้อหาการเรียนและชั่วโมง
ดาราง 1 เนื้อหาการเรียนและชั่วโมง
หัวข้อ
ประเด็น
เนื้อหา
เป้าหมาย
ชั่วโมงการเรียน
การตรวจซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าขั้นพื้นฐานของรถยนต์
ประเด็นแรก การใช้มัลติมิเตอร์รถยนต์
1.รู้จักมัลติมิเตอร์
2.วิธีใช้เกียร์แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าและความต้านไฟฟ้า
1.เวลาวัดชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าสามารถเลือกใช้ตำแหน่งมัลติมิเตอร์ได้อย่างถูกต้อง
2.สามารถอ่านและเข้าใจข้อมูลผลวัดได้อย่างถูกต้อง
8
ประเด็นที่สอง การตรวจสอบรีเลย์รถยนต์
1、.โครงสร้างและหลักการทำงานของรีเลย์
2.วิธีตรวจวัดรีเลย์
3.การประยุกต์ใช้รีเลย์ในรถยนต์
1.สามารภตัดสินความดีและความเสียของเครื่องรีเลย์
2.สามารถติดตั้งวงจรไฟฟ้าได้อย่างถูกต้องโดยใช้รีเลย์
ประเด็นที่สาม การใช้เครื่องวินิจฉัย
1.สามารถตัดสินปัญหาที่พบบ่อยในรถยนต์ด้วยเครื่องวินิจฉัย
2.สามารถรับรู้ข้อมูลที่ทรงค่า
1.รู้จักเครื่องวินิจฉัยที่พบบ่อย
2.สามารถใช้เครื่องวินิจฉัยที่พบบ่อย
ประเด็นที่สี่ การอ่านภาพวงจรไฟฟ้า
1.สามารถอ่านและเข้าใจภาพอวงจรไฟฟ้ารถยนต์ได้อย่างถูกต้อง
2.คุ้นเคยกับรูปสัญลักษณ์วงจรไฟฟ้าที่พบบ่อย
1.สามารถระบุวงจรไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง
2.สามารถตัดสินปัญหาที่พบบ่อยในรถยนต์ด้สยภาพวงจรไฟฟ้า
ปัญหาระบบแหล่งจายไฟฟ้ารถยนต์และการตรวจซ่อม
ประเด็นแรก โครงสร้างและหลักการของแบตเตอรี่
1.บทบาทและส่วนประกอบของแบตเตอรี่ที่พบบ่อย
2.หลักการทำงานของแบตเตอรี่ที่พบบ่อย
1.สามารถอธิบายบทบาทและส่วนประกอบของอแบตเตอรี่ได้อย่างถูกต้อง
2.เข้าใจหลักการทำงานของแบตเตอรี่
12
ประเด็นที่สอง การตรวจซ่อมปัญหาอันเกิดจากความจุแบตเตอรี่ไม่เพียงพอ
การตรวจซ่อมปัญหาอันเกิดจากความจุแบตเตอรี่ไม่เพียงพอ
สามารถตัดสินสภาพการณ์แบตเตอรี่หมด
การตรวจซ่อมปัญหาอันเกิดจากแบตเตอรี่ไม่เพียงพอ
ประเด็นที่สาม โครงสร้างและหลักการทำงานของอัลเทอร์เนเตอร์
1.บทบาทและส่วนประกอบของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่พบบ่อย
2.หลักการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่พบบ่อย
1.สามารถอธิบายบทบาทและส่วนประกอบของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง
2.เข้าใจหลักการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
ประเด็นที่สี่ การตรวจสอบและซ่อมแซมอัลเทอร์เนเตอร์
1.วิธีตรวจซ่อมชิ้นส่วนภายในอัลเทอร์เนเตอร์
2.การตรวจซ่อมปัญหาที่พบบ่อยของอัลเทอร์เนเตอร์
1.สามารถตรวจเช็คโครงสร้างของอัลเทอร์เนเตอร์ได้อย่างถูกต้อง
2.สามารถตรวจสอบปัญหาของอัลเทอร์เนเตอร์
ปัญหาระบบสตาร์ทเตอร์รถยนต์และการตรวจซ่อม
ประเด็นแรก หลักการทำงานของเครื่องสตาร์ทเตอร์
1.โครงสร้างและส่วนประกอบของเครื่องสตาร์ทเตอร์
2.หลักการทำงานของเครื่องสตาร์ทเตอร์
1.สามารถอธิบายส่วนประกอบและบทบาทของเครื่องสตาร์ทเตอร์ได้อย่างถูกต้อง
2.สามารถอธิบายหลักการทำงานของเครื่องสตาร์ทเตอร์ได้อย่างถูกต้อง
12
ประเด็นที่สอง การถอดและติดตั้งเครื่องสตาร์ทเตอร์
1.การเลือกอุปกรณ์ถอดและติดตั้ง
2.ขั้นตอนและข้อควรระวังของการถอดและติดตั้งเครื่องสตาร์ทเตอร์
1.สามารถเลือกอุปกรณ์ถอดและติดตั้งได้อย่างถูกต้อง
2.สามารถถอดและติดตั้งเครื่องสตาร์ทเตอร์ได้อย่างถูกต้อง
ประเด็นที่สาม การตรวจซ่อมเครื่องสตาร์ทเตอร์
1.วิธีตรวจสอบโครงสร้างเครื่องสตาร์ทเตอร์
2.การตรวจซ่อมปัญหาที่พบบ่อยของเครื่องสตาร์ทเตอร์
1.สามารถตรวจสอบความดีหรือเสียของเครื่องสตาร์ทเตอร์ได้อย่างถูกต้อง
2.การตรวจซ่อมความเสียของเครื่องสตาร์ทเตอร์
ประเด็นที่สี่ การตรวจสอบและซ่อมแซมระบบเครื่องสตาร์ทเตอร์
1.การอ่านภาพวงจรไฟฟ้าการทำงานของเครื่องสตาร์ทเตอร์
2.แนวคิดกตรวจซ่อมปัญหาที่พบบ่อยของเครื่องสตาร์ทเตอร์
1.สามารถอ่านและเข้าใจภาพวงจรไฟฟ้าของเครื่องสตาร์ทเตอร์ได้อย่างถูกต้อง
2.การตรวจซ่อมปัญหาที่พบบ่อยของเครื่องสตาร์ทเตอร์
โครงสร้างและการตรวจซ่อมระบบจุดระเบิดรถยนต์
ประเด็นแรก การแนะนำโดยคร่าวของระบบจุดระเบิดรถยนต์
1.วิวัฒนาการขของระบบจุดระเบิดรถยนต์
2.โครงสร้างและส่วนประกอบของระบบจุดระเบิดรถยนต์
1.สามารถอธิบายโครงสร้างและส่วนประกอบของระบบจุดระเบิดได้อย่างถูกต้อง
10
ประเด็นที่สอง หลักการควบคุมระบบจุดระเบิดรถยนต์
1.หลักการทำงานของระบบจุดระเบิดที่ควบคุมโดคอมพิวเตอร์
2.การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า
1.เข้าใจ้สาเหตุของปัญหาระบบจุระเบิด
2.สามารถวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าระบบจุดระเบิด
ประเด็นที่สาม การตรวจซ่อมระบบจุดระเบิดรถยนต์
。
1.การตรวจซ่อมปัญหาที่พบบ่อยของระบบจุดระเบิด
1.แนวคิดวินิชัยปัญหาที่พบบ่อยของระบบจุดระเบิด
การตรวจซ่อมระบบระบบไฟส่องสว่างและสัญญาณรถยนต์
ประเด็นแรก ส่วนประกอบและหลักการทำงานของไฟหน้ารถยนต์
1.บทบาทและส่วนประกอบไฟรถยนต์ที่พบบ่อย
2.การอ่านภาพวงจรไฟฟ้าไฟรถยนต์ที่พบบ่อย
3.การตรวจซ่อมปัญหาไฟรถยนต์ที่พบบ่อย
1.คุ้นเคยกับวิธีการทำเปิด-ปิดไฟรถยนต์ที่พบบ่อย
2.สามารถอ่านและเข้าใจภาพวงจรไฟฟ้าไฟรถยนต์ได้อย่างถูกต้อง
3.แนวคิดการตรวจซ่อมปัญหาไฟรถยนต์ที่พบบ่อย
16
ประเด็นที่สอง การตรวจซ่อมความเสียไฟหน้ารถยนต์
ประเด็นที่สาม ส่วนประกอบและหลักการทำงานของไฟหน้ารถยนต์
ประเด็นที่สี่ การตรวจซ่อมปัญหาของไฟเล็ก
ประเด็นที่ห้า ส่วนประกอบปละหลักการทำงานของไฟแจ้งเตือนภัยและไฟเลี้ยว
ประเด็นที่ห้า การตรวจซ่อมปัญหาไฟแจ้งเตือนภัยและไฟเลี้ยว
ประเด็นที่หก ส่วนประกอบและหลักการของไฟเบรด
ประเด็นที่เจ็ด การตรวจซ่อมปัญหาของไฟเบรด
ประเด็นที่แปด ส่วนประกอบและหลักการของไฟตัดหมอก
ประเด็นที่เก้า การตรวจซ่อมปัญหาไฟตัดหมอก
การตรวจซ่อมระบบข้อมูลและสารสนเทศ
ประเด็นแรก การเรียนรู้การแจ้งเตือนภัยและแดชบอร์ดรถยนต์
การเรียนรู้ไฟแจ้งเตือนภัยและะแดชบอร์ดรถยนต์
สามารถอ่านและเข้าใจไฟแจ้งเตือนภัยและแจ้งเตือนภัย
10
ประเด็นที่สอง การตรวจซ่อมปัญหาเกจวัดแรงดันน้ำมันเครื่อง
1.หลักการทำงานของเกจวัดแรงดันน้ำมันเครื่องและเกจวัดแรงดันน้ำมันเชื้อเพลิง
2.แนวคิดตรวจซ่อมเกจวัดแรงดันน้ำมันเครื่องและเกจวัดแรงดันน้ำมันเชื้อเพลิง
1.สามารถอธิบายหลักการทำงานของเกจวัดแรงดันน้ำมันเครื่องและเกจวัดแรงดันน้ำมันเชื้อเพลิงได้อย่างถูกต้อง
2.แนวคิดตรวจซ่อมเกจวัดแรงดันน้ำมันเครื่องและเกจวัดแรงดันน้ำมันเชื้อเพลิง
ประเด็นที่สาม การตรวจซ่อมปัญหาเกจวัดแรงดันน้ำมันเชื้อเพลิง
ประเด็นที่สี่ หลักการทำงานของเรดาร์ถอยหลัง
1.บทบาทและส่วนประกอบของเรดาร์ถอยหลัง
2.หลักการทำงานของเรดาร์ถอยหลัง
3.การตรวจซ่อมปัญหาของเรดาร์ถอยหลัง
1.เข้าใจ้บทบาทของเรดาร์ถอยหลัง
2.สามารถอธิบายหลักการทำงานของเรดาร์ถอยหลัง
3.แนวติดตรวจซ่อมปัญหาเรดาร์ถอยหลัง
ประเด็นห้า การตราวจซ่อมปัญหาของเรดาร์ถอยหลัง
ปัญหาอุปกรณ์เสริมรถยนต์และการตรวจซ่อม
ประเด็นแรก โครงสร้างและหลักการทำงานของใบปัดน้ำฝนกระจกรถยนต์
1.ส่วนประกอบและหลักการทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้าเสริมรถยนต์
2.การอ่านภาพวงจรไฟฟ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าเสริมรถยนต์
3.การตรวจซ่อมความเสียของอุปกรณ์ไฟฟ้าเสริมรถยนต์
1.สามารถอธิบายโครงสร้าง ส่วนประกอบและหลักการทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้าเสริมรถยนต์
2.สามารถอ่านและเข้าใจภาพวงจรไฟฟ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าเสริมรถยนต์
3.มีแนวคิดการตรวจซ่อมปัญหาที่ชัดแจน
28
28
ประเด็นที่สอง การตรวจซ่อมปัญหาของใบปัดน้ำฝนกระจกรถยนต์
ประเด็นที่สาม ส่วนประกอบและหลักการทำงานของกระจกไฟฟ้ารถยนต์
ประเด็นที่สี่ การตรวจซ่อมปัญหาของกระจกไฟฟ้ารถยนต์
ประเด็นที่ห้า การเรียนรู้ล็อคประตูที่ควบคุมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
ประเด็นที่หก การตรวจซ่อมปัญหาของล็อคประตูที่ควบคุมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
ประเด็นที่เจ็ด โครงสร้างและหลักการทำงานของกระจกมองหลัก
ประเด็นที่แปด การตรวจซ่อมกระจกมองหลัง
ประเด็นที่เก้า โครงสร้างและหลักการทำงานของระบบควบคุมความเร็วอัตโนมัติ
ประเด็นที่สิบ การตรวจซ่อมระบบควบคุมความเร็วอัตโนมัติ
ประเด็นที่สิบเอ็ด โครงสร้างและหลักการทำงานของระบบป้องกันขโมย
ประเด็นที่สิบสอง การตรวจซ่อมปัญหาของระบบป้องกันขโขมย
๔.รูปแบบและวิธีการสอน
(๑)รูปแบบการสอน
การดูแลรักษาระบบไฟฟ้ารถยนต์ในส่วนประกอบวงจร เป็นหลักสูตเชิงปฏิบัติที่เน้นการอบรมการปฏิบัติลงมือทำและทักษะความรู้ทางด้านทฤษฎีของนักเรียน การเนินการสอนหลักสูตรนี้เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนการสอนของประเทศ มาตรฐานของหลักสูตรและหนังสือรับรองระดับมืออาชีพ จะถือเป้าหมายการอบรมของสาขาวิชาเป็นจุดเร่มต้น โดยมีนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ให้ความสำคัญกับการประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านทฤษฎี เน้นลุการเรียนเพื่อประยุกต์ใช้และทฤษฎีบูรณาการกับสภาพความเป็นจริง
หลักสูตรถือหัวข้อเป็นแกนนำ และขับเคลื่อนด้วยภารกิจ และใช้รูปแบบการสอนแบบทฤษฎีคู่กับการปฏิบัติจริงเป็นหนึ่งเดียว โดยจะมีภารกิจการงานในตำแหน่งงานซ่อมแซมเครื่องใช้ไฟฟ้ารถยนต์เป็นตัวช่วย และอาศัยสถานที่ฝึกงานนอกโรงเรียน ผู้สอนอธิบายขณะทำการสาธิต และนักเรียนฟังและปฏิบัติไป เพื่อให้การสอนเชิงทฤษฎีคู่กับการสอนเชิงปฏิบัติจริงได้ผสมกันอย่างกลมกลืนกัน
ในเวลาเดียวกัน ความรู้ทางวิชาชีพจะสอนคู่กับความคิดจรรยาบรรณ ภายใต้การนำของค่านิยม คุณภาพของวัฒนธรรม จิตสำนึกของนวัตกรรม และจิตอารมณ์ของนักช่างเป็นต้น นำค่านิยมที่ถูกต้องมาสอนคู่กับการบำรุงรักษา การซ่อมแซมและการผลิตรถยนต์ เพื่อให้นักเรียนรับรู้ค่านิยมความคิดจรรยาบรรณที่ถูกต้องโดยไม่รู้ตัว
(๒)วิธีการสอน
1.การสอนด้วยมัลติมีเดีย
โดยนำเนื้อหาการเรียน เช่น หลักการทำงานและโครงสร้างอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นต้นมาทำเป็นพาวเวอร์พอยท์ และสอนคู่กับคลิปวีดีโอที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะทำให้เนื้อหาการเรียนเข้าใจง่ายขึ้น เวลาสอนโครงสร้าง บทบาทและหลักทำงานของอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า ครูจะจัดทำ PPT วีดีโอและแอนิเมชั่นจำนวนมากมาย ซึ่งทำให้ความรู้ที่เข้าใจยากเข้าใจง่ายขึ้น
2.สอนสด
ในฐานะที่เป็นหลักสูตรสำหรับสาขาวิชาที่เน้นความสามารถการปฏิบัติจริงในระดับสูง หลักสูตรได้ทำการย้ายสถานที่เรียนจากห้องเรียนไปเป็นสถานที่ฝึกงานจริง เพื่อเข้าถึงสภาพแวดล้อมการงานจริง โดยมีการสอนคู่กับการปฏิบัติ การอธิบายคู่กับการลงมือทำ ซึ่งสามารถทำให้จดจำความรู้ทางด้านทฤษฎีลึกซึ้งยิ่งขึ้น ทฤษฎีคู่กับการปฏิบัติได้อย่างกรมกลืน นอกจากนี้ ผู้สอนหลักจะค้นหา"เคส"ตัวอย่างทั่วไปที่เหมาะสมกับการเรียนการสอนจากการงานบำรุงรักษารถยนต์จริง ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความรู้ทางทฤษฎีคู่กับการปฏิบัติจริง โดยสามารถยกความสามารถในการเรียนของนักเรียน ตลอดจนทำให้เนื้อหาการเรียนง่ายขึ้น เพื่อนักเรียนทำความเข้าใจและจดจำ และยังสามารถฝึกฝนความสามารถการประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านทฤษฎี
3.สอนตามหัวข้อ
ตามทักษะความสามารถที่ต้องการหลังเรียนจบและประกอบงาน เราแบ่งเนื้อหาการสอนเป็นทั้งหมดเจ็ดหัวข้อที่ผสมระหว่างความรู้เชิงทฤษฎีกับทักษะปฏิบัติ หลังเรียนเสร็จหัวข้อหนึ่ง นักเรียนก็จะสามารถเข้าใจทักษะความสามารถในหัวข้อนั้น ครูในสถานที่ฝึกงานจะใช้วิธีสอนแบบผสมทฤษฎีคู่กับทักษะปฏิบัติ ผสมทั้งการสอนและการปฏิบัติ
๕.หนังสือเรียนและแหล่งขอ้มูล
(๑)หนังสือเรียนน
[1]โครงสร้างและการซ่อมแซมอุปกรณ์ไฟฟ้ารถยนต์ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยฉงชิ่ง ฉวีเสียน ปี 2019
[2] เครื่องใช้ไฟฟ้ารถยนต์และการปฏิบัติจริง สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีและอิเล็กทรอนิกส์ซีอัน ผานโจวกวง ปี 2020
[3] หนังสือเรียนหลักการอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้ารถยนต์และการตรวจซ่อม ฉบับที่ 2 สำนักพิมพ์อุสาหกรรมเครื่องจักร หยาง หงชิ่ง เชิน เซียว ปี 2019
[4] โครงสร้างและการตรวจซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้ายานยนต์ ฉบับที่สอง สำนักพิมพ์ Journal of Communications and Information Networks หวาง ไอ้โก๋ว เกา กวางฮุย ปี 2017
(๒) แหล่งข้อมูลออนไลน์
แพลตฟอร์มหลักสูตรฟรีออนไลน์ของมหาวิทยาลัยฉงชิ่ง-การดูแลรักษาระบบไฟฟ้ารถยนต์ในส่วนประกอบวงจร